นิติศาสตรบัณฑิต (นอกเวลาทำการ)
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรพื้นฐานเบื่องต้นของกฎหมายที่ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน และการใช้กฎหมายทำความเข้าใจกับสังคม รวมทั้งกฎเกณฑ์และวิธีการนำกฎหมายมาปรับใช้เบื้องต้น
หลักสูตรและรายวิชา
จำนวนหน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 136 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
นอกเวลาทำการ 2 ปี 6 เดือน | 136 หน่วยกิต |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
– หมวดวิชาศึกษาทั่วไป-บังคับ – หมวดวิชาศึกษาทั่วไป-เลือก |
30 หน่วยกิต 21 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต |
2. หมวดวิชาเฉพาะ
– วิชาแกน – วิชาเฉพาะด้าน |
100 หน่วยกิต 88 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี | 6 หน่วยกิต |
*หมายเหตุ สามารถเทียบโอนได้ 36 หน่วยกิต (วิชาพื้นฐาน 30 หน่วยกิต และวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต)
นอกเวลาทำการ 4 ปี | 136 หน่วยกิต |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
– หมวดวิชาศึกษาทั่วไป-บังคับ – หมวดวิชาศึกษาทั่วไป-เลือก |
30 หน่วยกิต 21 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต |
2. หมวดวิชาเฉพาะ
– วิชาแกน – วิชาเฉพาะด้าน |
100 หน่วยกิต 88 หน่วยกิต 12 หน่วยกิต |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี | 6 หน่วยกิต |
*หมายเหตุ วุฒิ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ไม่สามารถเทียบโอนได้
รหัสและรายวิชา
รายวิชาในหลักสูตรมีหลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชา โดยแทนด้วยอักษร 2 ตัว และตัวเลข 3 หลักนำหน้าทุกรายวิชาในหลักสูตร ดังต่อไปนี้ | ||
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป |
||
รายวิชาต่างๆ ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจะมีรหัสนำหน้าชื่อวิชา ซึ่งมีความหมายดังนี้ | ||
ตัวอักษรสองตัว คือ GE | หมายถึง | หมวดวิชาศึกษาทั่วไป |
ตัวเลขหลักร้อย 0-4 | หมายถึง | กลุ่มวิชา ประกอบด้วย |
เลข 0 | หมายถึง | กลุ่มวิชาภาษาและทักษะการสื่อสาร |
เลข 1 | หมายถึง | กลุ่มวิชาธุรกิจและการประกอบการ |
เลข 2 | หมายถึง | กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
เลข 3 | หมายถึง | กลุ่มวิชาสุนทรียศาสตร์และวัฒนธรรม |
เลข 4 | หมายถึง | กลุ่มวิชาคุณภาพชีวิตและสังคมยั่งยืน |
(2) หมวดวิชาเฉพาะ |
||
หมวดวิชาเฉพาะประกอบด้วยรายวิชาในกลุ่มวิชาแกน กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน และจะมีรหัสนำหน้าชื่อวิชา ซึ่งมีความหมาย ดังนี้ | ||
ก. กลุ่มวิชาแกน |
||
อักษรตัวแรกและตัวที่สอง คือ คณะวิชาที่สอน และคณะที่ให้บริการสอน ประกอบด้วย | ||
LW | หมายถึง | คณะนิติศาสตร์ |
เลขหลักร้อย คือ ชั้นปีที่ ประกอบด้วย | ||
1 | หมายถึง | จัดสอนในชั้นปีที่ 1 |
2 | หมายถึง | จัดสอนในชั้นปีที่ 2 |
3 | หมายถึง | จัดสอนในชั้นปีที่ 3 |
4 | หมายถึง | จัดสอนในชั้นปีที่ 4 |
เลขหลักสิบและหลักหน่วย | หมายถึง | ลำดับวิชา ตั้งแต่ 01-99 |
BA | หมายถึง | คณะบริหารธุรกิจ |
AC | หมายถึง | คณะบัญชี |
เลขหลักร้อย 9 | หมายถึง | วิชาที่ให้บริการ |
เลขหลักสิบ 8 | หมายถึง | คณะนิติศาสตร์ เป็นคณะที่รับบริการ |
เลขหลักหน่วย | หมายถึง | ลำดับวิชาตั้งแต่ 1-9 |
ข. กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน |
||
อักษรตัวแรกและตัวที่สอง LW | หมายถึง | คณะนิติศาสตร์ |
เลขหลักร้อย คือ ชั้นปีที่ ประกอบด้วย | ||
3 | หมายถึง | จัดสอนในชั้นปีที่ 3 |
4 | หมายถึง | จัดสอนในชั้นปีที่ 4 |
เลขหลักสิบและหลักหน่วย คือ ลำดับวิชาตั้งแต่ 01-99 |
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education Courses) จำนวนหน่วยกิต 30 หน่วยกิต |
|||||||
1. กลุ่มวิชาภาษาและทักษะการสื่อสาร (Language and Communication Skills) | |||||||
2. กลุ่มวิชาธุรกิจและการประกอบการ (Business and Entrepreneurship) | |||||||
3. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology) | |||||||
4. กลุ่มวิชาสุนทรียศาสตร์และวัฒนธรรม (Aesthetics and Culture) | |||||||
5. กลุ่มวิชาคุณภาพชีวิตและสังคมยั่งยืน (Quality of Life and Sustainable Society) | |||||||
ส่วนที่ 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป-บังคับ นักศึกษาทุกคนต้องเรียน จำนวน 21 หน่วยกิต ดังนี้ |
|||||||
1. กลุ่มวิชาภาษาและทักษะการสื่อสาร (Language and Communication Skills Courses)กลุ่มภาษา จำนวน 15 หน่วยกิต (Language Courses: 15 credits) |
|||||||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
เงื่อนไข |
||||
Course Code | Course Title |
Credits |
Prerequisite |
||||
GE001 | ภาษาไทยเพื่ออาชีพ
(Thai for Careers) |
3(3-0-6) |
– |
||||
GE002 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1*
(English for Communication 1*) |
3(3-0-6) |
– |
||||
GE003 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2*
(English for Communication 2*) |
3(3-0-6) |
ศึกษาก่อน GE002* หรือคะแนน TOEIC หรือเทียบเท่าตามเกณฑ์ที่กำหนด |
||||
GE004 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 1*
(English for Communication in Careers 1*) |
3(3-0-6) |
ศึกษาก่อนGE003* หรือคะแนน TOEIC หรือเทียบเท่าตามเกณฑ์ที่กำหนด | ||||
GE005 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 2*
(English for Communication in Careers 2*) |
3(3-0-6) |
ศึกษาก่อนGE004* หรือคะแนน TOEIC หรือเทียบเท่าตามเกณฑ์ที่กำหนด | ||||
GE067 | ทักษะการนำเสนอและการพูดในที่สาธารณะ**
(Presentation and Public Speaking Skills**) |
3(3-0-6) |
1) วิชาศึกษาทั่วไป-บังคับของหลักสูตรกำหนด**
2) เป็นวิชาศึกษาทั่วไป-เลือก หรือ วิชาเลือกเสรีสำหรับนักศึกษาหลักสูตรอื่นฯ |
||||
* หมายเหตุ
1. นักศึกษาชาวต่างชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง (Native English Speaker) และ/หรือ นักศึกษาที่เรียนในหลักสูตรที่ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนเต็มเวลามาไม่น้อยกว่า 6 ปี ต้องลงทะเบียนวิชาภาษาอังกฤษทั้ง 4 วิชาคือ GE002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 GE003 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 GE004 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 1 และ GE005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 2 และต้องผ่านการประเมินผลตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการประจำหลักสูตรเห็นชอบ 1. Foreign students who are native English speakers and/or students who have studied in a full–time English program at least six years. Registration for all four English language courses are required: GE002 English for Communication 1GE003 English for Communication 2, GE004 English for Communication in Careers 1, and GE005 English for Communication in Careers 2. All students must pass the required course evaluation by the curriculum committee. 2. นักศึกษาที่ยื่นผลคะแนนสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ TOEIC หรือเทียบเท่า จะต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษาที่ 2 ที่เข้าศึกษา โดยผลคะแนนภาษาอังกฤษต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่ผลสอบประกาศและต้องเป็นไปตามเกณฑ์การเทียบผลคะแนนมาตรฐานภาษาอังกฤษดังต่อไปนี้ 2. Students who submit standardized test scores of TOEIC or equivalent. All submissions must be completed within the second semester of the second academic year of study. The English test scores must be valid for no more than two years from the date of the announcement and must be in line with the English language proficiency criteria as follows: |
|||||||
|
|||||||
2.1 สำหรับนักศึกษาในหลักสูตรนานาชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนเท่านั้น เมื่อขอยกเว้นรายวิชาภาษาอังกฤษโดยยื่นผลคะแนนมาตรฐานภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ ก. จะต้องลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษนั้น ๆ และต้องผ่านการประเมินผลตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการประจำหลักสูตรเห็นชอบ
2.1 For students in the International programs using English as the medium of instruction only. When submitting the standardized test score of English in agreement with the Criterion A, they are required to register for the English courses and must pass the required course evaluation by the curriculum committee. 2.2 สำหรับนักศึกษาในหลักสูตรที่ใช้ภาษาไทยและ/หรือภาษาอื่น ๆ ในการเรียนการสอน 2.2 For students in the programs using Thai and/or other languages as a medium of instruction. 2.2.1 เมื่อขอยกเว้นรายวิชาภาษาอังกฤษโดยยื่นผลคะแนนสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ ข. นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยทดแทนให้ครบ/ไม่น้อยกว่าจำนวนหน่วยกิต ที่ได้รับการยกเว้น เพื่อให้มีจำนวนหน่วยกิตครบตามที่หลักสูตรกำหนด 2.2.1 When requesting the exempt of English courses by submitting the standardized test score of English on the basis of criterion B, students must enroll in other courses offered at the university as equivalent to or more than the number of credits exempted in order to fulfill the program requirement. 2.2.2 นักศึกษาที่ขอยกเว้นรายวิชาภาษาอังกฤษโดยยื่นผลคะแนนสอบมาตรฐานสูงกว่าที่กำหนดไว้ในเกณฑ์ ข. ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ก. โดยจะต้องลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษนั้นๆ และต้องผ่านการประเมินผลตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการประจำหลักสูตรเห็นชอบ 2.2.2 Students who request for the exempt of English courses by submitting a standardized test score higher than Criterion B shall follow the criterion A. All students must register for all English courses and must pass the required course evaluation by the curriculum committee. ** หมายเหตุ เฉพาะนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการประกอบการเทคโนโลยีขั้นสูง (หลักสูตรนานาชาติ) และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) ให้เรียนรายวิชา GE067 ทักษะการนำเสนอและการพูดในที่สาธารณะ (Presentation and Public Speaking Skills) แทนรายวิชา GE001 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ (Thai for Careers) สำหรับนักศึกษาหลักสูตรอื่น สามารถลงเรียนiรายวิชานี้เป็นวิชาเลือกได้ Remark: Bachelor of Business Administration Program in Innovation Driven Entrepreneurship (International Program) and Bachelor of Science Program in Computer Science (International Program) are require to enroll to study GE067 Presentation and Public Speaking Skills instead to enroll to GE001 Thai for Careers. For students in the other programs, this course can be registered as Elective. |
|||||||
2. กลุ่มวิชาธุรกิจและการประกอบการ (Business and Entrepreneurship Course) จำนวน 3 หน่วยกิต |
|||||||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
เงื่อนไข |
||||
Course Code | Course Title |
Credits |
Prerequisite |
||||
GE101 | การประกอบการที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
(Innovation – Driven Entrepreneurship) |
3(3-0-6) |
– |
||||
GE120 | จากศูนย์สู่การเป็นฮีโร่ ***
(From Zero to Hero***) |
3(3-0-6) |
1) วิชาศึกษาทั่วไป-บังคับของหลักสูตรกำหนด**
2) เป็นวิชาศึกษาทั่วไป-เลือก หรือ วิชาเลือกเสรีสำหรับนักศึกษาหลักสูตรอื่นฯ |
||||
*** หมายเหตุ
เฉพาะนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการประกอบการเทคโนโลยีขั้นสูง (หลักสูตรนานาชาติ) และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) ให้เรียนรายวิชา GE120 จากศูนย์สู่การเป็นฮีโร่ (From Zero to Hero) แทนรายวิชา GE101 การประกอบการที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Innovation – Driven Entrepreneurship) สำหรับนักศึกษาหลักสูตรอื่น สามารถลงเรียนiรายวิชานี้เป็นวิชาเลือกได้ Remark: Bachelor of Business Administration Program in Innovation Driven Entrepreneurship (International Program) and Bachelor of Science Program in Computer Science (International Program) are require to enroll to GE120 From Zero to Hero instead to enroll to GE101 Innovation-Driven Entrepreneurship. For students in the other programs, this course can be registered as Elective. |
|||||||
3. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Course) จำนวน 3 หน่วยกิต |
|||||||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
เงื่อนไข |
||||
Course Code | Course Title |
Credits |
Prerequisite |
||||
GE201 | การคิดเชิงนวัตกรรมทางดิจิทัลและการโค้ด
(Digital Innovative Thinking and Coding) |
3(3-0-6) |
– |
||||
GE210 | พื้นฐานการเขียนโปรแกรม****
(Foundation of Programming****) |
3(2-2-5) |
1) วิชาศึกษาทั่วไป-บังคับของหลักสูตรกำหนด**
2) เป็นวิชาศึกษาทั่วไป-เลือก หรือ วิชาเลือกเสรีสำหรับนักศึกษาหลักสูตรอื่นฯ |
||||
ส่วนที่ 2 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป-เลือก นักศึกษาเลือกเรียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิตจากกลุ่มวิชาต่อไปนี้Section 2: General Education Courses – Elective. Students can choose to study no less than 9 credits from the following course groups: |
|||||||
1. กลุ่มวิชาภาษาและทักษะการสื่อสาร (Language and Communication Skills) | |||||||
2. กลุ่มวิชาธุรกิจและการประกอบการ (Business and Entrepreneurship) | |||||||
3. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology) | |||||||
4. กลุ่มวิชาสุนทรียศาสตร์และวัฒนธรรม (Aesthetics and Culture) | |||||||
5. กลุ่มวิชาคุณภาพชีวิตและสังคมยั่งยืน (Quality of Life and Sustainable Society) | |||||||
(หมายเหตุ:Remark); รายวิชาและคำอธิบายรายวิชา ดูจากภาคผนวก ข. Courses and Courses Description please see Appendix B) | |||||||
2. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน 100 หน่วยกิต มี 2 กลุ่มวิชา | |||||||
1. กลุ่มวิชาแกน |
จำนวน 88 หน่วยกิต |
||||||
2. กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน |
จำนวน 12 หน่วยกิต |
||||||
1. กลุ่มวิชาแกน จำนวน 88 หน่วยกิต |
|||||||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
เงื่อนไข |
||||
Course Code | Course Title |
Credits |
Prerequisite |
||||
LW102 | กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา
(Juristic Act and Contract) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW103 | กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป
(Criminal Law : General Principles) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW106 | หลักกฎหมายทั่วไป
(General Principles of Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW107 | ประวัติศาสตร์กฎหมาย
(Legal History) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW204 | กฎหมายอาญา : ภาคความผิด
(Criminal Law : Offenses) |
3(3-0-6)
|
ศึกษาก่อน LW103 |
||||
LW205 | กฎหมายมหาชน
(Public Law) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW206 | กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน
(Property Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW207 | กฎหมายลักษณะหนี้
(Obligations) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW208 | กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
(Wrongful Acts ; Torts, Management of Affairs without Mandate and Undue Enrichments) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW212 | กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเมืองการปกครอง
(Constitutional Law and Politics) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW215 | เอกเทศสัญญา 1
(Specific Contract 1) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW216 | เอกเทศสัญญา 2
(Specific Contract 2) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW217 | กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาคุ้มครองความเสี่ยงภัยทางธุรกิจ (Laws on business risk insurance contracts) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW218 | พระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบศาลไทย
(The law for the Organization of Court of Justice and Thai Court System) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW235
|
กฎหมายอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม
(Industrial and Environmental Law) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW314 | กฎหมายเกี่ยวกับตราสารพาณิชย์ ตั๋วเงิน และบัญชีเดินสะพัด
(Commercial Negotiable Instruments and Current Accounts) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW315 | กฎหมายเกี่ยวกับองค์กรธุรกิจ
(Law of Business Organizations) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW316 | กฎหมายลักษณะครอบครัว
(Family Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW317 | กฎหมายลักษณะมรดก
(Law of Succession) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW318 | กฎหมายภาษีอากร
(Taxation Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW322 | กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(Law of Criminal Procedure) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW323 | กฎหมายแรงงานและสวัสดิการสังคม
(Labour Law and Social Welfare) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW324 | กฎหมายปกครองและศาลปกครอง
(Administrative Law and Administrative Court) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW328 | กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
(Law of Civil Procedure) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW329 | การเตรียมความพร้อมสำหรับนักกฎหมายธุรกิจ
(Preparation for Business Lawyer) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW330 | กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน
(Law of Evidence) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW339 | การให้คำปรึกษาทางกฎหมายในงานคดีและ
การว่าความ (Legal Consultancy and Advocacy) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW425 | หลักวิชาชีพนักกฎหมายและนิติปรัชญา
(Legal Profession and Philosophy of Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW426 | กฎหมายลักษณะล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ
(Bankruptcy Law and Reorganization) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW428 | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
(Public International Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW429 | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
(Private International Law) |
2(2-0-4) |
– |
||||
LW430 | กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ
(International Trade Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
2. กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน จำนวน 12 หน่วยกิต |
|||||||
แผนปกติ
เลือกในกลุ่มวิชาเฉพาะด้าน จำนวน 12 หน่วยกิต |
|||||||
แผนสหกิจศึกษา
เลือกในกลุ่มวิชาเฉพาะด้าน จำนวน 6 หน่วยกิต และวิชาสหกิจศึกษา จำนวน 6 หน่วยกิต |
|||||||
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
เงื่อนไข |
||||
Course Code | Course Title |
Credits |
Prerequisite |
||||
LW331 | หลักสิทธิมนุษยชน คุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล
(Human Rights, Moral, Ethics and Good Governanc) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW332 | กระบวนการยุติธรรมและกฎหมายในชีวิตประจำวัน
(Justice System and Laws in Daily Life) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW333 | กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล
(Law Relating to Digital Economy) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW334 | กฎหมายเกี่ยวกับการสืบสวนและสอบสวน(Law Relating to Inquiry and Investigation) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW335 | กฎหมายว่าด้วยการขนส่งและการกระจายสินค้า
(Transportation Law and Distribution) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW336 | สัมมนาปัญหากฎหมายธุรกิจในยุคปัจจุบัน(Seminar on Current Legal Business Problems) |
3(1-4-4) |
– |
||||
LW337 | กฎหมายเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้สิทธิ
(Law Relating to Licensing) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW338 | กฎหมายเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(Law Relating to Electronic Commerce) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW401 | กฎหมายสหภาพยุโรป
(European Union Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW403 | กฎหมายสนธิสัญญา
(Law of Treaty) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW404 | กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและความรับผิดชอบในผลิตภัณฑ์
(Consumer Protection Law and Product Liability Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW405 | กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
(Real Estate Business Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW406 | กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ
(Law of Economic Crime) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW408 | กฎหมายทะเล
(Law of the Sea) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW409 | กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
(International Economic Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW410 | กฎหมายการค้ากลุ่มประเทศอิสลาม
(Law of Trade in Islamic Countries) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW414 | อาชญากรรมไซเบอร์และการใช้คอมพิวเตอร์ในการกระทำความผิด
(Cybercrime and Computer Misuse) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW417 | กฎหมายกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(Law, Science & Technology) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW418 | กฎหมายกับการพัฒนา
(Law and Development) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW419 | กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจเบื้องต้น
(Introduction to Public Economic Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW422 | หัวข้อพิเศษในทางนิติศาสตร์
(Special Topics in Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW423 | กฎหมายและเศรษฐศาสตร์
(Law and Economics) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW440 | กฎหมายแรงงานสำหรับนักบริหารงานบุคคล
(Employment Laws for the HR Professional) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW446 | ระเบียบและวิธีการวิจัยทางกฎหมาย
(Legal Research Methodology) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW449 | กฎหมายอวกาศ
(Space Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW450 | กฎหมายการแพทย์และสาธารณสุข
(Medical and Public Health Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW455 | กฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์
(Securities Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW457 | กฎหมายเกี่ยวกับสถาบันการเงิน
(Financial Institutions Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW459 | กฎหมายพาณิชยนาวีและการจัดซื้อจัดหาสินค้าข้ามชาติ
(Maritime Law and Global Sourcing) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW461 | กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า
(Competition Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW464 | กฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน
(Investment Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW469 | กฎหมายและนโยบายว่าด้วยการสื่อสาร
(Communications Law and Policy) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW470 | กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Law and Information Technology) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW486 | นิติเวชวิทยา
(Forensic Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW489 | กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
(International Environmental Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW494 | กฎหมายการคลัง
(Fiscal Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW497 | อนุญาโตตุลาการและการระงับข้อพิพาททางเลือก
(Arbitration and Alternative Dispute Resolutions) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW498 | กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
(Intellectual Property Law) |
3(3-0-6) |
– |
||||
LW499 | สหกิจศึกษา
(Co-operative Education) |
3(3-0-6) |
– |
||||
AC982 | หลักการบริหารธุรกิจ การเงิน และการบัญชีสำหรับนักกฎหมาย
(Principles of Business Management, Finance and Accounting for Lawyer) |
3(3-0-6) |
– |
||||
BA983 | พฤติกรรมองค์การ
(Organizational Behavior) |
3(3-0-6) |
– |
||||
3. หมวดวิชเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต |
|||||||
นักศึกษาต้องศึกษาวิชาเลือกเสรีอย่างน้อย จำนวน 6 หน่วยกิต ทั้งนี้ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอนในสาขาอื่นในระดับปริญญาตรี ในคณะนิติศาสตร์ หรือคณะอื่นๆในมหาวิทยาลัย และรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศที่มีข้อตกลง/ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยหรือได้รับรองจากสำนักงาน ก.พ. | |||||||
หมายเหตุ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. สามารถเทียบโอนได้โดยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการฯ |
แผนการเรียนนิติศาสตรบัณฑิต
แผนการเรียน ปี 1
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW102 | กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา | 3(3-0-6) | – |
LW103 | กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป | 3(3-0-6) | – |
LW106 | หลักกฎหมายทั่วไป | 3(3-0-6) | – |
LW107 | ประวัติศาสตร์กฎหมาย | 3(3-0-6) | – |
LW206 | กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน | 3(3-0-6) | – |
LW207 | กฎหมายลักษณะหนี้ | 3(3-0-6) | – |
รวม | 18 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW204 | กฎหมายอาญา : ภาคความผิด | 3(3-0-6) | ศึกษาก่อน LW103 |
LW205 | กฎหมายมหาชน | 2(2-0-4) | – |
LW208 | กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ | 3(3-0-6) | – |
LW215 | เอกเทศสัญญา 1 | 3(3-0-6) | – |
LW218 | พระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบศาลไทย | 2(2-0-4) | – |
LW212 | กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเมืองการปกครอง | 3(3-0-6) | – |
รวม | 16 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW216 | เอกเทศสัญญา 2 | 3(3-0-6) | – |
LW217 | กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาคุ้มครองความเสี่ยงภัยทางธุรกิจ | 3(3-0-6) | – |
LW314 | กฎหมายเกี่ยวกับตราสารพาณิชย์ ตั๋วเงิน และบัญชีเดินสะพัด | 3(3-0-6) | – |
รวม | 9 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | จำนวนหน่วยกิต | เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW102 | กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา |
3(3-0-6) |
– |
LW103 | กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป |
3(3-0-6) |
– |
LW106 | หลักกฎหมายทั่วไป |
3(3-0-6) |
– |
LW107 | ประวัติศาสตร์กฎหมาย |
3(3-0-6) |
– |
LW206 | กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน |
3(3-0-6) |
– |
LW207 | กฎหมายลักษณะหนี้ |
3(3-0-6) |
– |
รวม |
18 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | จำนวนหน่วยกิต | เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW204 | กฎหมายอาญา : ภาคความผิด |
3(3-0-6) |
ศึกษาก่อน LW103 |
LW205 | กฎหมายมหาชน |
2(2-0-4) |
– |
LW208 | กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ |
3(3-0-6) |
– |
LW215 | เอกเทศสัญญา 1 |
3(3-0-6) |
– |
LW218 | พระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบศาลไทย |
2(2-0-4) |
– |
LW212 | กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเมืองการปกครอง |
3(3-0-6) |
– |
รวม |
16 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW216 | เอกเทศสัญญา 2 | 3(3-0-6) | – |
LW217 | กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาคุ้มครองความเสี่ยงภัยทางธุรกิจ | 3(3-0-6) | – |
LW314 | กฎหมายเกี่ยวกับตราสารพาณิชย์ ตั๋วเงิน และบัญชีเดินสะพัด | 3(3-0-6) | – |
รวม | 9 หน่วยกิต |
แผนการเรียน ปี 2
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW315 | กฎหมายเกี่ยวกับองค์กรธุรกิจ | 3(3-0-6) | – |
LW316 | กฎหมายลักษณะครอบครัว | 3(3-0-6) | – |
LW318 | กฎหมายภาษีอากร | 3(3-0-6) | – |
LW328 | กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง | 3(3-0-6) | – |
LW425 | หลักวิชาชีพนักกฎหมายและนิติปรัชญา | 3(3-0-6) | – |
LW430 | กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ | 3(3-0-6) | – |
รวม | 18 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | จำนวนหน่วยกิต | เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW317 | กฎหมายลักษณะมรดก | 3(3-0-6) | – |
LW324 | กฎหมายปกครองและศาลปกครอง | 3(3-0-6) | – |
LW336 | สัมมนาปัญหากฎหมายธุรกิจในยุคปัจจุบัน | 3(1-4-4) | – |
LW428 | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง | 3(3-0-6) | – |
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 1 | 3(3-0-6) | – | |
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 2 | 3(3-0-6) | – | |
รวม | 18 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW322 | กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา | 3(3-0-6) | – |
LW426 | กฎหมายลักษณะล้มละลายและฟื้นฟูกิจการ | 3(3-0-6) | – |
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 1 วิชา | 3(3-0-6) | – | |
รวม | 9 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW315 | กฎหมายเกี่ยวกับองค์กรธุรกิจ | 3(3-0-6) | – |
LW316 | กฎหมายลักษณะครอบครัว | 3(3-0-6) | – |
LW318 | กฎหมายภาษีอากร | 3(3-0-6) | – |
LW328 | กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง | 3(3-0-6) | – |
LW425 | หลักวิชาชีพนักกฎหมายและนิติปรัชญา | 3(3-0-6) | – |
LW430 | กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ | 3(3-0-6) | – |
GE002 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 | 3(3-0-6) | – |
รวม | 21 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | จำนวนหน่วยกิต | เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW317 | กฎหมายลักษณะมรดก |
3(3-0-6) |
– |
LW324 | กฎหมายปกครองและศาลปกครอง |
3(3-0-6) |
– |
LW336 | สัมมนาปัญหากฎหมายธุรกิจในยุคปัจจุบัน |
3(1-4-4) |
– |
LW428 | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง |
3(3-0-6) |
– |
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 1 |
3(3-0-6) |
– |
|
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 2 |
3(3-0-6) |
– |
|
GE003 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 |
3(3-0-6) |
GE002 |
รวม |
21 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW322 | กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา | 3(3-0-6) | – |
LW426 | กฎหมายลักษณะล้มละลายและฟื้นฟูกิจการ | 3(3-0-6) | – |
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 3 | 3(3-0-6) | – | |
รวม | 9 หน่วยกิต |
แผนการเรียน ปี 3
รหัสวิชา | ชื่อวิชา |
จำนวนหน่วยกิต |
เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW235 | กฎหมายอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม | 2(2-0-4) | – |
LW323 | กฎหมายแรงงานและสวัสดิการสังคม | 2(2-0-4) | – |
LW329 | การเตรียมความพร้อมสำหรับนักกฎหมายธุรกิจ | 2(2-0-4) | – |
LW330 | กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน | 2(2-0-4) | – |
LW339 | การให้คำปรึกษาทางกฎหมายในงานคดีและการว่าความ | 2(2-0-4) | – |
LW429 | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล | 2(2-0-4) | – |
รวม | 12 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | จำนวนหน่วยกิต | เงื่อนไขก่อนเรียน |
LW235 | กฎหมายอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม |
2(2-0-4) |
– |
LW323 | กฎหมายแรงงานและสวัสดิการสังคม |
2(2-0-4) |
– |
LW329 | การเตรียมความพร้อมสำหรับนักกฎหมายธุรกิจ |
2(2-0-4) |
– |
LW330 | กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน |
2(2-0-4) |
– |
LW339 | การให้คำปรึกษาทางกฎหมายในงานคดีและการว่าความ |
2(2-0-4) |
– |
LW429 | กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล |
2(2-0-4) |
– |
GE004 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 1 |
3(3-0-6) |
GE003 |
GE001 | ภาษาไทยเพื่ออาชีพ |
3(3-0-6) |
– |
รวม |
18 หน่วยกิต |
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | จำนวนหน่วยกิต | เงื่อนไขก่อนเรียน |
GE005 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 2 |
3(3-0-6) |
GE004 |
GE000 | วิชาพื้นฐาน-เลือก วิชาที่ 1 |
3(3-0-6) |
– |
GE000 | วิชาพื้นฐาน-เลือก วิชาที่ 2 |
3(3-0-6) |
– |
GE000 | วิชาพื้นฐาน-เลือก วิชาที่ 3 |
3(3-0-6) |
– |
GE101 | การประกอบการที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม |
3(3-0-6) |
– |
GE201 | การคิดเชิงนวัตกรรมทางดิจิทัลและการโค้ด |
3(3-0-6) |
– |
รวม |
18 หน่วยกิต |
หมายเหตุ:
– คณะนิติศาสตร์สามารถปรับเปลี่ยนแผนการเรียนได้ตามความเหมาะสมซึ่งจะมีการประกาศแจ้งให้นักศึกษาทราบ
– นักศึกษาสามารถขอรับคำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาในการจัดแผนการเรียนที่เหมาะสม
คำอธิบายรายวิชา
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาแกน
กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา (Juristic Act and Contract)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายลักษณะนิติกรรม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 รวมทั้งระยะเวลา อายุความ และหลักกฎหมายสัญญา ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 รวมทั้งพัฒนาการของกฎหมายสัญญาในเรื่องข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป (Criminal Law : General Principles)
3(3-0-6)
หลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 ได้แก่ หลักทั่วไป ว่าด้วย การกระทำ สภาวะจิตใจ และโทษ
หลักกฎหมายทั่วไป (General Principles of Law)
3(3-0-6)
ความหมาย ความเป็นมาและบ่อเกิดของกฎหมายประเภทและหมวดหมู่ของกฎหมาย การบัญญัติ การเปลี่ยนแปลง และการยกเลิกกฎหมาย ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับปรากฏการณ์ทางสังคมอื่นๆ ระบบกฎหมายที่สำคัญของโลก การใช้ การตีความ ผลบังคับ และการบังคับตามกฎหมาย สิทธิ หน้าที่ การใช้สิทธิและการใช้สิทธิเกินส่วน นิรโทษกรรม หลักสุจริต หลักทั่วไปของกฎหมายแพ่ง โดยเน้นสิทธิและหน้าที่ในทางแพ่งของบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 นอกจากที่เป็นเนื้อหาของวิชากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา
ประวัติศาสตร์กฎหมาย(Legal History)
3(3-0-6)
ความเข้าใจบทบาทกฎหมายต่อชุมชน วิวัฒนาการและประวัติศาสตร์ความเป็นมาของระบบกฎหมายหลักของโลก ได้แก่ระบบ Common Law และระบบ Civil Law วิวัฒนาการและประวัติศาสตร์กฎหมายไทย ในยุคสมัยต่างๆ รวมถึงอิทธิพลของกฎหมายต่างประเทศที่มีต่อระบบกฎหมายไทย
กฎหมายอาญา : ภาคความผิด (Criminal Law : Offenses)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายอาญาภาคความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 และภาค 3 ได้แก่ ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม ความผิดเกี่ยวกับศาสนา ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง ความผิดเกี่ยวกับการค้า ความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ และลหุโทษ
ศึกษาก่อน: LW103 กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป
กฎหมายมหาชน (Public Law)
2(2-0-4)
ความเป็นมาและวิวัฒนาการของระบบกฎหมายมหาชน ขอบเขตและลักษณะเฉพาะของกฎหมายมหาชน บ่อเกิดของกฎหมายมหาชน นิติบุคคลแห่งกฎหมายมหาชน ความหมายของการปกครองในระบบนิติรัฐ สถาบันทางกฎหมายมหาชน ความหมาย องค์ประกอบ รูปแบบและสถาบันต่างๆ ของรัฐ ทฤษฎีเกี่ยวกับการใช้อำนาจ โดยเฉพาะการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย อำนาจดุลพินิจและอำนาจผูกพันนิติกรรมทางปกครอง การใช้อำนาจของศาลปกครอง และแนวความคิดและนิติวิธี (Juristic Method) ของกฎหมายมหาชน รวมถึงกฎหมายมหาชนทางเศรฐกิจเบื้องต้น
กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน (Property Law)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์และทรัพย์สิน การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ แดนแห่งกรรมสิทธิ์ การใช้กรรมสิทธิ์ กรรมสิทธิ์รวม ทรัพย์สินประเภทต่างๆ สิทธิครอบครอง ภาระจำยอม และหลักเกณฑ์ทางกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายลักษณะหนี้ (Obligations)
3(3-0-6)
หลักพื้นฐานของกฎหมายลักษณะหนี้ และความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหนี้ และลูกหนี้ อันประกอบ ด้วยวัตถุแห่งหนี้ ผลแห่งหนี้ การโอนสิทธิเรียกร้อง ความระงับหนี้ การชำระหนี้ การปลดหนี้ การหักกลบลบหนี้ การแปลงหนี้ใหม่ และหนี้เกลื่อนกลืนกัน
กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอก และลาภมิควรได้ (Wrongful Acts; Torts, Management of Affairs Without Mandate and Undue Enrichments)
3(3-0-6)
หลักทั่วไปของกฎหมายลักษณะละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิด ค่าสินไหมทดแทน การนิรโทษกรรม การจัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเมืองการปกครอง (Constitutional Law and Politics)
3(3-0-6)
ทฤษฎีทางการเมือง รูปแบบการปกครอง และสถาบันทางการเมือง ตลอดจนการจัดองค์กรบริหารราชการแผ่นดิน ประวัติและวิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญ องค์กรต่างๆ ของรัฐ สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ทฤษฎีและหลักการที่สำคัญของระบอบรัฐธรรมนูญ ได้แก่ อำนาจอธิปไตย ทฤษฎีการแบ่งแยกการใช้อำนาจ หลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รวมทั้งปรัชญาของแนวความคิดต่าง ๆ ในระบบรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน
เอกเทศสัญญา 1 (Specific Contract 1)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรัพย์ และเช่าซื้อ รวมถึงพัฒนาการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกรรมทางพาณิชย์รูปแบบอื่นทำนองเดียวกัน
เอกเทศสัญญา 2 (Specific Contract 2)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายลักษณะตัวแทน นายหน้า ยืม ฝากทรัพย์ จ้างแรงงาน จ้างทำของ และรับขน รวมถึงพัฒนาการของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาคุ้มครองความเสี่ยง (Laws on Business Risk Insurance Contracts)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายลักษณะค้ำประกัน จำนอง จำนำ หลักประกันทางธุรกิจตามกฎหมายใหม่ และการบังคับสัญญาจำนำหุ้น หลักกฎหมายลักษณะประกันภัย รวมถึงกฎหมายเกี่ยวกับการประกันวินาศภัย และการประกันชีวิต
พระธรรมนูญศาลยุติธรรมและระบบศาลไทย (The law for the organization of court of justice and Thai Court system)
2(2-0-4)
ระบบศาลในประเทศไทยที่มีอำนาจพิจารณาคดีทั้งทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครอง ระบบศาลยุติธรรมและศาลชำนัญพิเศษ ได้แก่ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลทรัพย์สินทางปัญญา ศาลแรงงาน และศาลภาษี รวมถึงขอบเขตและอำนาจของศาลแต่ละประเภท
กฎหมายอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม (Industrial and Environmental Law)
2(2-0-4)
แนวคิดและหลักกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ การเรียกร้องค่าเสียหายในคดีสิ่งแวดล้อม รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับการกำกับดูแลและการควบคุมมลพิษจากการประกอบกิจการอุตสาหกรรม รวมไปถึงประเด็นใหม่ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการอุตสาหกรรม
กฎหมายเกี่ยวกับตราสารพาณิชย์ ตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด (Commercial Negotiable Instruments and Current Accounts)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายลักษณะตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ รวมถึงกฎมายเกี่ยวกับตราสารเปลี่ยนมือทางอิเล็กทรอนิคส์ และตราสารเปลี่ยนมืออื่นๆ ที่สำคัญในยุคดิจิทัล
กฎหมายเกี่ยวกับองค์กรธุรกิจ (Law of Business Organizations)
3(3-0-6)
ความสำคัญขององค์กรธุรกิจประเภทต่างๆ หลักเกณฑ์ในการจัดตั้งและดำเนินการห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด และองค์กรธุรกิจอื่นๆ ได้แก่ กิจการร่วมค้า (Joint Venture) สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดของผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร และความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด รวมถึงหลักการในการควบรวมกิจการ (merger and acquisition)
กฎหมายลักษณะครอบครัว (Family Law)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายลักษณะครอบครัว การหมั้น การสมรส ความเป็นโมฆะของการสมรส ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา ทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยา บิดามารดากับบุตร สิทธิหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร ความปกครอง บุตรบุญธรรม และค่าอุปการะเลี้ยงดู
กฎหมายลักษณะมรดก (Law of Succession)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายเกี่ยวกับมรดก สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก พินัยกรรม วิธีจัดการและปันทรัพย์มรดก
กฎหมายภาษีอากร (Taxation Law)
3(3-0-6)
ทฤษฎีและหลักกฎหมายภาษีอากร การคลัง งบประมาณแผ่นดิน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม การอุทธรณ์ภาษี อากรแสตมป์ ภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามประมวลรัษฎากร ภาษีสำหรับธุรกิจออนไลน์ภาษีกับปัญญาประดิษฐ์ ภาษีรูปแบบใหม่ที่ทันสมัย ปัญหากฎหมายและการปฏิบัติ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (Law of Criminal Procedure)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายแรงงานและสวัสดิการสังคม (Labour Law and Social Welfare)
2(2-0-4)
หลักทั่วไปของกฎหมายแรงงาน ประวัติความเป็นมาของกฎหมายแรงงานของไทย หลักกฎหมายคุ้มครองแรงงาน แรงงานสัมพันธ์ ศาลแรงงาน และวิธีพิจารณาคดีแรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับการจัดหางาน การทำงานของคนต่างด้าว หลักสวัสดิการสังคม ประวัติและวิวัฒนาการของการประกันสังคมและกฎหมายประกันสังคมในประเทศไทย
กฎหมายปกครองและศาลปกครอง (Administrative Law and Administrative Court)
3(3-0-6)
ประวัติและลักษณะทั่วไปของกฎหมายปกครอง บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง ในระบบกฎหมายต่างๆ หลักการพื้นฐาน การใช้และการตีความกฎหมายปกครอง การจัดระเบียบราชการบริหารการจัดตั้งและสถานะทางกฎหมายของนิติบุคคลในกฎหมายมหาชน ทฤษฎีว่าด้วยการกระทำของฝ่ายปกครอง ผลบังคับของคำสั่งทางปกครอง การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง มาตรการบังคับทางปกครอง หลักเกณฑ์ เกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติราชการของฝ่ายปกครอง สัญญาทางปกครอง ศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (Law of Civil Procedure)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยบททั่วไป ซึ่งประกอบด้วยศาล คู่ความ การยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสารพยานหลักฐาน คำพิพากษาและคำสั่ง และวิธีพิจารณาสามัญและวิสามัญในศาลชั้นต้น วิธีพิจารณาคดีนโนสาเร่ การพิจารณาโดยขาดนัดอนุญาโตตุลาการ วิธีพิจารณาในศาลอุทธรณ์และฎีกา วิธีการชั่วคราวก่อนศาลพิพากษา และการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งภาคบังคับคดี
การเตรียมความพร้อมสำหรับนักกฎหมายธุรกิจ (Preparation for Business Lawyer)
3(3-0-6)
ศึกษาเทคนิคและวิธีการในการปฏิบัติงานสำหรับนักกฎหมายธุรกิจ อาทิ การทำงานในสำนักงานกฎหมาย การบริหารงานในสำนักงานกฎหมาย วิธีการให้คำปรึกษาแก่ลูกความ ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย โดยเน้นให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในงานของนักกฎหมายธุรกิจ อาทิ การให้ความเห็นทางกฎหมาย การเจรจาต่อรองและร่างสัญญาการเตรียมคดี เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมในการประกอบวิชาชีพด้านกฎหมายธุรกิจต่อไป
กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน (Law of Evidence)
2(2-0-4)
หลักทั่วไปของกฎหมายลักษณะพยาน หลักกฎหมายลักษณะพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การรับฟังพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฉบับใหม่
การให้คำปรึกษาทางกฎหมายในงานคดีและการว่าความ (Legal Consultancy and Advocacy)
2(2-0-4)
ลักษณะงานที่ปรึกษากฎหมาย การให้คำแนะนำทางกฎหมายโดยศึกษาจากตัวอย่างที่สมมุติขึ้น การจัดตั้ง การบริหารสำนักงานทนายความและสำนักงานที่ปรึกษา ระบบการคิดค่าตอบแทน รวมทั้งการว่าความ การเตรียมคดี การสืบพยาน ขั้นตอนในการดำเนินคดีในศาลยุติธรรม ตลอดจนจริยธรรมนักกฎหมาย
หลักวิชาชีพนักกฎหมายและนิติปรัชญา (Legal Profession and Philosophy of Law)
3(3-0-6)
วิวัฒนาการของวิชาชีพกฎหมาย ความรับผิดชอบและงานของนักกฎหมายในสาขาต่างๆ อุดมคติและจรรยาบรรณของนักกฎหมาย จริยธรรม และมารยาทที่นักกฎหมายพึงต้องปฏิบัติ หน่วยงานควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายในประเทศไทย รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบ ภาระหน้าที่ และหน่วยงานควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายในประเทศต่างๆ ทั้งระบบ Civil Law และ Common Law และวิวัฒนาการของแนวความคิดปรัชญาทางกฎหมายตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนปัญหาว่าด้วยอุดมคติ จรรยาบรรณจริยธรรม และรากฐานแห่งกฎหมาย ส่งเสริมการเรียนรู้ในคุณธรรมของวิชาชีพนักกฎหมาย ปราศจากการทุจริตคอรัปชั่นเพื่ออำนวยความยุติธรรม ตลอดจนการดำรงค์ตนฝึกฝนการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาคอรัปชั่น พร้อมกับการทำงานแก้ปัญหาให้กับสังคมในสถาณการณ์จริง
กฎหมายลักษณะล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ (Bankruptcy Law and Reorganization)
3(3-0-6)
แนวคิดและวิวัฒนาการของกฎหมายล้มละลาย กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย วิธีการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้ อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ อำนาจศาล และกระบวนวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย การสอบสวน บทกำหนดโทษ ตลอดจนแนวคิด และวิธีปฏิบัติ ในการฟื้นฟูองค์กรธุรกิจที่ประสบปัญหา
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง (Public International Law)
3(3-0-6)
ลักษณะและบ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายในประเทศ บุคคลระหว่างประเทศ เขตแดนและเขตอำนาจของรัฐ สนธิสัญญา การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ กฎหมายทะเล ความรับผิดชอบของรัฐ กฎหมายการทูต ความร่วมมือระหว่างประเทศในการปราบปรามอาชญากรรม การก่อการร้าย และกฎหมายสงคราม
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล (Private International Law)
2(2-0-4)
ความหมายและลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล การขัดกันแห่งกฎหมาย ระบบกฎหมาย และระบบศาลที่ใช้บังคับกับคดีที่เกี่ยวพันกับบุคคลและนิติบุคคลต่างด้าว รวมถึงการบังคับให้เป็นไปตาม คำพิพากษา ภูมิลำเนา สัญชาติ สถานะของคนชาติและคนต่างด้าว และการยอมรับและบังคับตามคำพิพากษาของศาลต่างประเทศ
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Law)
3(3-0-6)
ที่มาของกฎหมายที่ใช้บังคับแก่ธุรกิจระหว่างประเทศ กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการซื้อขายเทคโนโลยี บทบาทของสัญญาทางธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจ แฟรนไชส์ กระบวนการผลิตสินค้า การค้าระหว่างประเทศ กฎเกณฑ์ระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับสัญญาการส่งออกและนำเข้าสินค้า Incoterms เลตเตอร์ออฟเครดิต พิธีการศุลกากรระหว่างประเทศ การประกันภัยทางทะเลและทางอากาศ การชำระและการโอนเงินระหว่างประเทศ ด้วยวิธีการต่างๆ
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน
หลักสิทธิมนุษยชน คุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล (Human Rights, Moral, Ethics and Good Governanc)
3(3-0-6)
หลักสิทธิมนุษยชน บทบาทและการพัฒนาของสิทธิมนุษยชนระดับสากลและสังคมไทย มโนทัศน์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน นโยบายการพัฒนาของรัฐที่ส่งผลต่อสิทธิมนุษยชนแนวคิดทางด้านคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคมของบุคลากรภาครัฐ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมาภิบาล ประเด็นปัญหาทางจริยธรรมในยุคโลกาภิวัฒน์ ผลกระทบทางสังคม และแนวทางพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
กระบวนการยุติธรรมและกฎหมายในชีวิตประจำวัน (Justice System and Laws in Daily Life)
3(3-0-6)
แนวคิด หลักการ ความหมายของการบริหารงานยุติธรรมทางแพ่ง อาญา และปกครอง ประวัติและพัฒนาการของกระบวนการยุติธรรมสากล ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป กฎหมายสำคัญในการดำเนินชีวิต กหมายที่เป็นข้อบังคับของสังคมและประเทศชาติ หลักนิติธรรม กระบวนการยุติธรรทางเลือก ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในกระบวนการยุติธรรม
กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัล (Law Relating to Digital Economy)
3(3-0-6)
หลักการ ทฤษฎี และความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายและเศรษฐกิจดิจิทัล การใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในยุค Disruption แนวทางในการพัฒนากฎหมายให้ก้าวทันเทคโนโลยี และศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น การกำกับดูแลกิจการในยุคดิจิทัล และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
กฎหมายเกี่ยวกับการสืบสวนและสอบสวน (Law Relating to Inquiry and Investigation)
3(3-0-6)
ระบบการยุติธรรมในคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน การสืบสวนและการสอบสวนการกระทำผิดอาญา สิทธิของผู้ต้องหาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อาทิ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ การสืบเสาะพยานหลักฐาน วิธีสอบปากคำ การพิสูจน์และตรวจสอบพยานหลักฐานทั้งวัตถุพยาน พยานเอกสารและพยานบุคคล
กฎหมายว่าด้วยการขนส่งและการกระจายสินค้า (Transportation Law and Distribution)
3(3-0-6)
ศึกษาทฤษฎี แนวปฏิบัติ และบทบาทของการขนส่งและการกระจายสินค้าตามกฎหมายแม่บทที่กำกับดูแลการขนส่งสินค้า และพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทางบก ทางทะเล ทางอากาศ การบริหารการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ รวมถึงการกระจายสินค้า ตลอดจนหน้าที่ ความรับผิด และการจำกัดความรับผิดของผู้ขนส่ง
สัมมนาปัญหากฎหมายธุรกิจในยุคปัจจุบัน (Seminar on Current Business Legal Problems)
3(3-0-6)
สัมมนาและการปฏิบัติการเกี่ยวกับประเด็นสำคัญทางกฎหมายธุรกิจในยุคปัจจุบันที่มีผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจทั้งภายในและนอกประเทศ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจทางเทคโนโลยี การเข้าสู่ยุค Disruption ทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยศึกษาจากคำพิพากษา กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ
กฎหมายเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้สิทธิ (Law Relating to Licensing)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายและสัญญาเกี่ยวกับการให้ใช้สิทธิ เช่น การอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิแฟรนไชส์ การถ่ายทอดเทคโนโลยีที่สืบเนื่องมาจากการให้ใช้สิทธิ โดยศึกษาทั้งหลักเกณฑ์ในประเทศและต่างประเทศมาเป็นอุทาหรณ์ โดยศึกษาจากฎหมาย คำพิพากษา และกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Law Relating to Electronic Commerce)
3(3-0-6)
นโยบาย กรอบแนวคิด และหลักการที่เกี่ยวข้องกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สัญญาซื้อขาย ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ การโอนเงินและการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงกรอบแนวคิดขององค์การระหว่างประเทศในเรื่องดังกล่าวและประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายสหภาพยุโรป (European Union Law)
3(3-0-6)
ที่มาของสหภาพยุโรป ลักษณะทางกฎหมายของสหภาพยุโรปในฐานะที่เป็นสถาบันการจัดองค์กรของสหภาพยุโรป สภายุโรป ศาลยุติธรรมยุโรป นโยบายและบทบาทของสหภาพยุโรป ความสัมพันธ์ภายในระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศ ภาคีสมาชิก และความสัมพันธ์ภายนอกของสหภาพยุโรปกับรัฐอื่นหรือองค์การระหว่างประเทศอื่นๆ
กฎหมายสนธิสัญญา (Law of Treaty)
3(3-0-6)
ที่มาของสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ทฤษฎีและผลผูกพันของสนธิสัญญาความแตกต่างระหว่างสนธิสัญญาระหว่างประเทศ การเกิด การบังคับใช้ และการสิ้นผลของสนธิสัญญา ทฤษฎีการยอมรับสนธิสัญญาในกฎหมายภายใน และการวิเคราะห์ปัญหาอันเกี่ยวกับอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยสนธิสัญญา ค.ศ.1969 และ 1982
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและความรับผิดชอบในผลิตภัณฑ์ (Consumer Protection Law and Product Liability Law)
3(3-0-6)
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ระเบียบปฏิบัติสำหรับการคุ้มครองผู้บริโภค มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านคุณภาพของสินค้าและบริการ ราคา การปิดฉลาก การบรรจุหีบห่อ การโฆษณา หน่วยงานในการคุ้มครองผู้บริโภค ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนหลักกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบในผลิตภัณฑ์
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Business Law)
3(3-0-6)
ลักษณะการใช้และการหาประโยชน์ทางธุรกิจในที่ดิน การบริหารงานของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ กฎหมายผังเมือง กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายเกี่ยวกับการจัดสรรบ้านพักอาศัย อาคารพาณิชย์ อาคารชุด ศูนย์การค้า วิธีปฏิบัติและสัญญาด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ รวมทั้งภาษีที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (Law of Economic Crime)
3(3-0-6)
ความหมายของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการก่อตัวของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมเกี่ยวกับความผิดจากห้างหุ้นส่วนบริษัท (Corporate Crime) มาตรการ และกลไกของรัฐในการดำเนินการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมเหล่านี้ รวมถึงการได้เปรียบในวิถีทางธุรกิจโดยการประกอบอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ เช่น ความผิดเกี่ยวกับการจารกรรมข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ โทรสาร การดักฟังทางโทรศัพท์ (Wire Tapping) ฯลฯ ตลอดจนกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการฟอกเงิน
กฎหมายทะเล (Law of the Sea)
3(3-0-6)
กฎเกณฑ์ตามสนธิสัญญาว่าด้วยกฎหมายทะเล ผลที่มีต่อสิทธิหน้าที่ของรัฐชายฝั่งทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมืองปัญหาเกี่ยวกับทะเลอาณาเขต เขตเศรษฐกิจจำเพาะ การประมง การขุดแร่ธาตุในทะเลซึ่งรัฐชายฝั่งมีอธิปไตยและในเขตทะเลหลวง หลักเกี่ยวกับรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล การแบ่งผลประโยชน์ร่วมกันแห่งมนุษยชาติ ตลอดจนท่าทีของประเทศมหาอำนาจและประเทศในกลุ่มอาเซียนที่มีต่อกฎเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้นอันจะมีผลกระทบต่อประเทศไทย
กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (International Economic Law)
3(3-0-6)
บทบาทและกฎเกณฑ์ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ (World Bank) และองค์การการค้าโลก (WTO) กฎเกณฑ์การเปิดเสรีการค้าสินค้า บริการ และการลงทุน การรวมกลุ่มทางการค้าในปัจจุบัน และประเด็นอุบัติใหม่ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น e-commerce สิ่งแวดล้อม และแรงงาน
กฎหมายการค้ากลุ่มประเทศอิสลาม (Law of Trade in Islamic Countries)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายอิสลามที่มีผลกระทบต่อการค้าและธุรกิจระหว่างประเทศ และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการค้าและการลงทุนกับกลุ่มประเทศอิสลาม รวมทั้งกฎหมายครอบครัว ทรัพย์สินและระบบศาลของกลุ่มประเทศอิสลาม
อาชญากรรมไซเบอร์และการใช้คอมพิวเตอร์ในการกระทำความผิด (Cybercrime and Computer Misuse)
3(3-0-6)
รูปแบบและลักษณะของอาชญากรรมประเภทต่างๆที่เกิดขึ้นบนอินเทอร์เน็ตหรือพื้นที่ไซเบอร์ และการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิด รวมถึงผลกระทบที่มีต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมุ่งเน้นการศึกษาไปที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยอาชญากรรมไซเบอร์ของสภายุโรป และกฎหมายภายในประเทศ เช่น กฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจประเด็นทางกฎหมาย หลักการและเหตุผลในการบังคับใช้กฎหมายซึ่งเกี่ยวข้องกับอาชญากรรมไซเบอร์และการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่างๆ
กฎหมายกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Law, Science & Technology)
3(3-0-6)
ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับนวัตกรรมใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ GMO Cloning และ Medical Ethics เป็นต้น
กฎหมายกับการพัฒนา (Law and Development)
3(3-0-6)
ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะในประเทศไทย พิจารณาถึงสถานะและบทบาทของกฎหมายในฐานะเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งผลประโยชน์ในสังคม ตลอดจนบทบาทของนักกฎหมายในกระบวนการดังกล่าว เพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยการปฏิรูปกฎหมาย การเผยแพร่กฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม
กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจเบื้องต้น (Introduction to Public Economic Law)
3(3-0-6)
ความเป็นมา พื้นฐาน และหลักเกณฑ์ในการที่รัฐเข้าควบคุมและดำเนินกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ ทั้งในแง่ของการเข้าควบคุมการดำเนินการทางเศรษฐกิจของเอกชน และการที่รัฐเข้าดำเนินการในทางเศรษฐกิจเอง ตลอดจนศึกษาเกี่ยวกับมาตรการต่างๆ ที่รัฐอาจนำมาใช้ได้ โดยศึกษาจากกฎหมายที่เกี่ยวข้องรวมทั้งชี้ให้เห็นถึงข้อบกพร่องต่างๆ พร้อมทั้งความเป็นไปได้ที่จะแก้ปัญหาต่างๆ เหล่านั้น
หัวข้อพิเศษในทางนิติศาสตร์ (Special Topics in Law)
3(3-0-6)
กฎหมายใหม่ที่สำคัญและมีผลกระทบต่อธุรกิจหรือสาธารณชน รวมทั้งกรณีการบังคับใช้กฎหมายที่มีปัญหาในทางปฏิบัติ ศึกษากฎหมายต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อระบบกฎหมายหรือธุรกิจในประเทศไทย รวมถึงประเด็นกฎหมายที่น่าสนใจในปัจจุบัน
กฎหมายและเศรษฐศาสตร์ (Law and Economics)
3(3-0-6)
ความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงระหว่างกฎหมายและเศรษฐกิจ กระบวนการทางกฎหมายของไทยที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทั้งในมิติการแทรกแซง กำกับ ชี้นำ ส่งเสริม หรือจำกัดการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอันจะมีผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ การนำหลักเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการวินิจฉัยประเด็นทางกฎหมาย อาทิ ความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจต่อการบัญญัติกฎหมาย การคิดค่าเสียหาย เป็นต้น
กฎหมายแรงงานสำหรับนักบริหารงานบุคคล (Employment law for Human Resource Practice)
3(3-0-6)
กฎหมายแรงงานและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน เช่น การจัดทำเอกสารการจ้างงาน ข้อกำหนดในสัญญาจ้างแรงงานเกี่ยวกับการไม่เปิดเผยความลับ การจำกัดสิทธิการประกอบอาชีพ และสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง ทะเบียนลูกจ้าง หนังสือเลิกจ้าง การทดลองงาน การจ้างงานคนต่างชาติและขอใบอนุญาตทำงาน การเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและการตรวจสอบประวัติการทำงานของลูกจ้าง ความคุ้มครองลูกจ้างหญิง ชาย และลูกจ้างที่มีความหลากหลายทางเพศตามกฎหมายความเท่าเทียมระหว่างเพศ การโยกย้ายลูกจ้างหรือสถานประกอบการ การหยุดงานหรือเลิกจ้างเนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจ การจ่ายค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษ การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม สิทธิหน้าที่ลูกจ้างนายจ้างตามกฎหมายประกันสังคม กฎหมายเงินทดแทน กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
ระเบียบและวิธีการวิจัยทางกฎหมาย (Legal Research Methodology)
3(3-0-6)
หลักและวิธีวิจัยทางกฎหมาย ขั้นตอนและกระบวนวิธีการวิจัย การเขียนโครงการการวิจัยในรูปแบบต่างๆ การเสนอข้อมูลทางการวิจัย ทฤษฎีที่จะใช้ประกอบการวิจัยโดยเน้นการวิจัยทางกฎหมาย
กฎหมายอวกาศ (Space Law)
3(3-0-6)
หลักกฎหมายเกี่ยวกับกิจกรรมด้านอวกาศทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ ระบบกฎหมายเกี่ยวกับห้วงอวกาศและดวงดาวต่างๆ สถานะทางกฎหมายของยานอวกาศ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดอันเกิดจากกิจกรรมด้านอวกาศทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้ประโยชน์ในห้วงอวกาศทั้งในกิจกรรมทางธุรกิจและทางด้านทหาร
กฎหมายการแพทย์และสาธารณสุข (Medical and Public Health Law)
3(3-0-6)
แนวคิดและที่มาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์และสาธารณสุข กฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ การควบคุมสถานพยาบาล การควบคุมยา และจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ ศึกษาแนวทางการใช้และการตีความกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ศึกษาถึงสิทธิ หน้าที่และความรับผิดของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับการรักษา
กฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์ (Securities Law)
3(3-0-6)
แนวคิดเกี่ยวกับบริษัทมหาชนจำกัด ความแตกต่างของบริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด การจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัด การออกหลักทรัพย์เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป การเลิกบริษัทมหาชนจำกัดการบริหารจัดการ และสิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้ถือหุ้น และต่อบุคคลภายนอก และประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับบริษัทมหาชนจำกัด รวมถึงแนวคิดเกี่ยวกับตลาดเงินและตลาดทุน การกำกับดูแลธุรกิจหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และองค์กร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ การระดมทุนด้วยการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ความหมายแล ะประเภทของหลักทรัพย์ การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ประเภทและลักษณะของธุรกิจหลักทรัพย์ การกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ การเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ การระดมทุนด้วยวิธี Crowdfunding และประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจหลักทรัพย์
กฎหมายเกี่ยวกับสถาบันการเงิน (Financial Institutions Law)
3(3-0-6)
ความหมายและความสำคัญของสถาบันการเงิน นโยบายของรัฐ และบทบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย ในการควบคุมกำกับดูแลสถาบันการเงินต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน กฎหมายและข้อบังคับในการดำเนินกิจการของสถาบันการเงิน โดยเน้นการศึกษาบทบาทของธนาคารพาณิชย์ในการรับฝากเงิน การให้สินเชื่อ การให้บริการทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ และการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา รวมถึงศึกษารูปแบบธุรกรรมและกฎเกณฑ์ทางการเงินที่เกี่ยวกับเทคโลโลยีทางการเงิน (fintech) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการควบคุมและพัฒนาสถาบันการเงินในยุคดิจิทัล
กฎหมายพาณิชยนาวีและการจัดซื้อจัดหาสินค้าข้ามชาติ (Maritime Law and Global Sourcing)
3(3-0-6)
ประเด็นและวิธีการเกี่ยวกับการจัดซื้อและการจัดหา บทบาทของการจัดซื้อและจัดหาในการบริหารโซ่อุปทาน การตัดสินใจต่างๆ ในการจัดซื้อ การพัฒนากลยุทธ์ในการจัดซื้ออย่างมีประสิทธิภาพ การวางแผนการจัดซื้อ ขั้นตอนในการจัดซื้อ การคัดเลือกผู้จัดหา การบริหารความสัมพันธ์กับคู่ค้า การรู้จักและจัดหาสินค้าจากแหล่งต่างๆ ทั่วโลก เทอมการค้าในการจัดหา ได้แก่ INCOTERM เป็นต้น การจัดซื้อแบบอิเล็กทรอนิกส์ การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ และศึกษากฎระเบียบต่าง เช่น อนุสัญญาขององค์การสหประชาชาติว่า ด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (CISG) หลักเกณฑ์การรับขนของทางทะเล การทำนิติกรรมลักษณะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรือ สิทธิของคนงานและผู้ปฏิบัติงานทางทะเล ความรับผิดอันเกิดจากเรือโดนกันการช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล ข้อจำกัดความรับผิด และบทบาทของกฎหมายพาณิชยนาวีในประเทศไทย
กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า (Competition Law)
3(3-0-6)
เศรษฐกิจเสรี ระบบการตลาด ธุรกิจระหว่างประเทศในระบบต่างๆ กฎหมายว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า องค์กร อำนาจ และหน้าที่ของคณะกรรมการแข่งขันทางการค้า พร้อมทั้ง การวินิจฉัยและการอุทธรณ์ รวมถึงกฎหมายว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ กฎหมายป้องกันการทุ่มตลาดและการอุดหนุนสินค้าจากต่างประเทศ ข้อตกลงหรืออนุสัญญาว่าด้วยสินค้าและบริการระหว่างประเทศ
กฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน (Investment Law)
3(3-0-6)
กฎหมายเกี่ยวกับการลงทุนตามกฎหมายในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว การส่งเสริมการลงทุน รูปแบบการลงทุนด้วยวิธีการต่างๆ และข้อจำกัดการลงทุน การคุ้มครองการลงทุนของนักลงทุนต่างด้าว สนธิสัญญาเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน (BIT) การศึกษากรณีศึกษาที่น่าสนใจ
กฎหมายและนโยบายว่าด้วยการสื่อสาร (Communications Law and Policy)
3(3-0-6)
หลักการพื้นฐานของกฎหมายและนโยบายว่าด้วยการสื่อสาร โดยรวมถึงการแพร่ภาพกระจายเสียง อาทิ ประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนผ่านของเทคโนโลยีและการกำกับดูแล บทบาทของหน่วยงานกำกับดูแล การลงทุนในกิจการโทรคมนาคมและการสื่อสาร การแข่งขันในตลาด การจัดสรรทรัพยากร เช่น คลื่นความถี่ การออกใบอนุญาต การให้บริการอย่างทั่วถึง และการคุ้มครองผู้บริโภค
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Law and Information Technology)
3(3-0-6)
แนวคิดและหลักการของกฎหมายพิเศษในเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวปฏิบัติในการคุ้มครองซอฟต์แวร์ด้วยกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและสิทธิความเป็นส่วนตัว แนวปฏิบัติในการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หลักเกณฑ์ในการประกอบธุรกิจทางอิเล็กทรอนิกส์ แนวปฏิบัติในการรับฟังพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมุ่งเน้นให้ผู้ศึกษาเข้าใจหลักการและเหตุผล รวมทั้งสามารถระบุหลักการร่วมกัน และความแตกต่างระหว่างหลักการตามกฎหมายทั่วไป และหลักกฎหมายเฉพาะสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศได้
นิติเวชวิทยา (Forensic Law)
3(3-0-6)
แนวคิดและหลักวิชาทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม เพื่อใช้ในการพิสูจน์หลักฐานในการดำเนินคดีตามกฎหมายตั้งแต่การสืบสวนสอบสวนไปจนถึงการพิจารณาคดีในชั้นศาลทั้งทางอาญาและทางแพ่ง
กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (International Environmental Law)
3(3-0-6)
กรอบความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับประเด็นสิ่งแวดล้อมในแง่มุมต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ (Climate Change) การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) การก่อมลภาวะข้ามพรมแดน (Transborder Pollution) เป็นต้น
ศึกษาก่อน : LW235 กฎหมายอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายการคลัง (Fiscal Law)
3(3-0-6)
ทฤษฎี หลักกฎหมายการคลังที่เกี่ยวกับการเงิน การคลัง วิธีการงบประมาณ นโยบายภาษี และนโยบายการเงิน สถาบันการเงินและการคลัง หลักเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวกับการเงินและการคลังที่รัฐใช้ในการบริหารประเทศ
อนุญาโตตุลาการและการระงับข้อพิพาททางเลือก (Arbitration and Alternative Dispute Resolutions)
3(3-0-6)
ลักษณะของข้อพิพาททางธุรกิจด้านต่างๆ รูปแบบ เหตุผล วิธีการระงับข้อพิพาทแบบต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ หลักกฎหมายระเบียบข้อบังคับของสถาบันอนุญาโตตุลาการ และข้อแตกต่างระหว่างประเทศเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการที่สำคัญ ข้อพิจารณาในการทำสัญญา การเลือกกฎหมายและวิธีการระงับข้อพิพาท หลักเกณฑ์และปัญหาในการฟ้องร้องคดี การขอให้รับรองและบังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการและคำพิพากษาของศาล
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Law)
3(3-0-6)
แนวความคิด ลักษณะ และหลักกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่กฎหมายลิขสิทธิ์ตลอดจนศึกษาถึงการคุ้มครองข้อมูลและการบริหารสิทธิและมาตรการทางเทคโนโลยี ข้อจำกัดความรับผิดของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต กฎหมายสิทธิบัตรและกฎหมายเครื่องหมายการค้าตลอดจนความร่วมมือระหว่างประเทศในการคุ้มครองสิทธิดังกล่าว
หลักการบริหารธุรกิจ การเงิน และการบัญชีสำหรับนักกฎหมาย (Principles of Business Management, Finance and Accounting for Lawyer)
3(3-0-6)
หลักการเบื้องต้นและความรู้ที่จำเป็นเกี่ยวกับหลักการบริหารธุรกิจ การเงิน และการบัญชี มีเนื้อหาเกี่ยวกับการบริหารงาน การวิเคราะห์งบการเงิน การจัดทำงบประมาณการวางแผนการดำเนินงาน การบัญชีการเงินเบื้องต้น และการบัญชีบริหาร เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและนำมาปรับใช้กับอาชีพนักกฎหมาย
พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior)
3(3-0-6)
พฤติกรรมการทำงานร่วมกันในองค์การ โดยศึกษาถึงพฤติกรรมบุคคลที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น การรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ ค่านิยม บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถและแรงจูงใจ พฤติกรรมกลุ่มในการทำงานร่วมกัน ภาวะผู้นำและการใช้อำนาจการติดต่อสื่อสาร และปัญหาความขัดแย้ง พฤติกรรมระดับองค์การ วัฒนธรรมการทำงานในองค์การ การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์การ เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหา การเพิ่มประสิทธิภาพ และการสร้างความพอใจในการทำงาน
รายวิชาสหกิจศึกษา
สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
6(0-40-20)
การปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศึกษาเป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชั่วคราว นักศึกษาจะต้องเข้ารับการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการและการปฏิบัติตนในสังคมการทำงานรวมทั้งดำเนินการตามขั้นตอนของสหกิจศึกษาที่มหาวิทยาลัยกำหนด การปฏิบัติงานและการประเมินผลอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาของสาขาวิชาและพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย
**ศึกษาก่อน: ศึกษาครบทุกวิชาในกลุ่มวิชาแกน